วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2552

ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์

การศึกษาแนวใหม่ได้จำแนกทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์ออกเป็น 3 ทฤษฎี คือ

1. ทฤษฎีแห่งการฝึกฝน (Drill Theory) ทฤษฎีนี้เชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้โดยการฝึกทำสิ่งนั้นซ้ำๆ หลายๆ ครั้ง การสอนเริ่มโดยครูบอกสูตรหรือกฎเกณฑ์ให้ แล้วให้เด็กทำแบบฝึกหัดมากๆ จนกระทั่งเด็กมีความชำนาญ

2. ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้โดยบังเอิญ (Incedental learning Theory) ทฤษฎีนี้เชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ดี เมื่อเด็กเกิดความพร้อมหรืออยากเรียนรู้ในสิ่งนั้นๆ การสอนจะพยายามให้นักเรียนเรียนคณิตศาสตร์ในบรรยากาศที่ไม่เคร่งเครียด และน่าเบื่อหน่าย สอนโดยมีกิจกรรมหลากหลายและยึดนักเรียนเป็นสำคัญ

3. ทฤษฎีแห่งความหมาย (Meaning Theory) ทฤษฎีนี้เชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้และเข้าในในสิ่งที่เรียนได้ดีเมื่อเด็กได้เรียนในสิ่งที่มีความหมายต่อตัวเอง เรียนให้มีความหมายโครงสร้าง Concept และให้นักเรียนเห็นโครงสร้างของคณิตศาสตร์ในการเรียนการสอนคณิตสาสตร์จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้ทั้ง 3 ทฤษฎีผสมกัน โดยขึ้นกับดุลยพินิจของครูผู้สอน ว่าในแต่ละเนื้อหาวิชา ลักษณะของเด็ก สภาพแวดล้อมขณะนั้น ตลอดจนตัวผู้สอนเอง ควรจะยึดหลักทฤษฎีไหนบ้าง มากน้อยเพียงไร


ที่มา : www.tukata.igetweb.com

วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552

จะมีวิธีเตรียมตัวสอบอย่างไร

วิธีหนึ่งสำหรับคนที่มีเวลาน้อย เริ่มด้วยการทบทวนบทนิยาม สูตร กฎ วิธีการจากโน้ตย่อ จากนั้นทบทวนวิธีการแก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหาโดยนึกว่าแผนการแก้ปัญหาสำหรับโจทย์ข้อนี้จะเป็นอย่างไรแล้วตรวจสอบจากเฉลยที่เราทำแบบฝึกหัดไว้ เราไม่ต้องลงมือแก้ปัญหาจริง เพียงแต่คิดวิธีการโดยเฉพาะข้อยากเราต้องคิดก่อน แต่ถ้าเรามีเวลามากเราก็อาจทบทวนโดยลงมือแก้ปัญหาอีกครั้งก็จะทำให้เราได้ฝึกฝนความแม่นยำ



ผศ.ดร.สมวงษ์ แปลงประสพโชค

เราจะมีวิธีเรียนคณิตศาสตร์อย่างไรให้ได้ดี

เราต้องเริ่มฝึกฝนการเป็นผู้เรียนที่ดี
1. เวลาฟังครู หรือเวลาอ่าน ต้อง คิด ถาม จด ถ้าไม่เข้าใจควรจดคำถามไว้เพื่อคิดค้นคว้า หรือถามผู้รู้
ต่อไป
2. หมั่นดูหนังสือหรือทำการบ้านอย่างมีประสิทธิภาพ ควรหามุมอ่านหรือทำการบ้านที่เหมาะสมกับ ตนเอง
3. จัดเวลาสำหรับทบทวนสิ่งที่เรียนมา หรืออ่านล่วงหน้าสิ่งที่จะเรียนต่อไป และถ้าปฏิบัติตามที่ กำหนดได้ควรให้ รางวัลตัวเอง เช่น ได้ขนม ได้เล่น ได้ฟังเพลง ดูทีวี ได้เล่นกีฬา เป็นต้น ถ้าทำไม่ได้ตาม กำหนดควรหาเวลาชดเชย
4. ทบทวนความรู้กับเพื่อน อย่าหวงวิชา แบ่งปันความรู้อธิบายให้กันและกัน อย่าช่วยเหลือเพื่อนใน ทางที่ผิด เช่น ทุจริตเวลาสอบ หรือให้ลอกงานโดยไม่เข้าใจ
5. ศึกษาด้วยตนเอง มิใช่ต้องเรียนจากครูเพียงอย่างเดียว การศึกษาด้วยตนเองจากตำราหลาย ๆ เล่ม
ต้องทำ ความเข้าใจจดสาระสำคัญต่าง ๆ ลงในโน้ตย่อ จดสิ่งที่ไม่เข้าใจไว้ค้นคว้าต่อไป ถ้าต้องการ
เชี่ยวชาญ คณิตศาสตร์ ต้องหมั่นหาโจทย์แปลกใหม่มาทำมาก ๆ เช่นโจทย์แข่งขัน เป็นต้น


ผศ.ดร.สมวงษ์ แปลงประสพโชค

เราเรียนคณิตศาสตร์ไปเพื่ออะไร ?

เป้าหมายสูงสุดของการเรียนคณิตศาสตร์ก็คือ การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และการนำไปใช้เป็นพื้นฐานการศึกษาวิชาชีพต่าง ๆ หลายคนอาจสงสัยว่า ไม่เห็นต้องเรียนคณิตศาสตร์มากนัก บวก ลบ คูณหารจำนวนเราก็มีเครื่องคิดเลขใช้แล้ว นับว่าเป็นความเข้าใจผิด คณิตศาสตร์มิใช่เพียงต้องให้คิดคำนวณเกี่ยวกับตัวเลขเท่านั้น ในโลกยุคปัจจุบันเมื่อเราเรียนคณิตศาสตร์เราควรได้คุณสมบัติต่อไปนี้จากการเรียน
1. ความสามารถในการสำรวจ
2. ความสามารถในการคาดเดา
3. ความสามารถในการให้เหตุผล
4. ความสามารถในการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาที่ไม่เคยพบได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คุณสมบัตินี้เรียกว่าศักยภาพทางคณิตศาสตร์ ( Mathematical Power )ไม่ว่าเราจะมีอาชีพอะไรถ้าเรามีคุณสมบัตินี้ เรียกได้ว่าเป็นคนที่มีศักยภาพทางคณิตศาสตร์
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ถ้าเราถูกสอนโดยวิธีครูบอกความรู้ หรือเทคนิคลัด ๆ ให้ท่องจำ นำไปใช้โดยปราศจากความเข้าใจ ไม่รู้ที่มา ไม่รู้เหตุผล เราก็จะไม่ได้คุณสมบัติดังกล่าว อะไรคือหัวใจสำคัญของคณิตศาสตร์ เมื่อเราเรียนคณิตศาสตร์ไปจนถึงระดับมัธยมศึกษา เราควรได้สิ่งต่อไปนี้
1. มีความรู้ใน คำศัพท์ บทนิยาม หลักการ ทฤษฎีบท โครงสร้าง วิธีการ
2. มีความเข้าใจ ในความคิดรวบยอดจนสามารถอธิบายได้ หรือเขียนได้ หรือยกตัวอย่างได้ แปลงปัญหาจากรูป หนึ่งไปสู่รูปหนึ่งได้ ประมาณคำตอบได้ ระบุความสัมพันธ์ได้ ตรวจสอบผลที่เกิดได้
3. มีทักษะต่าง ๆ ดังนี้ ทักษะการแก้ปัญหา การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง การคิดอย่างมีเหตุผล การคิดคำนวณ การวัด การประมาณ การอ่านและแปลผลข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การทำนาย และการใช้คอมพิวเตอร์
4. มีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้


ผศ.ดร.สมวงษ์ แปลงประสพโชค

วันพฤหัสบดีที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

How can parents support their child in school ?

How can parents support their child in school ?

Make it a habit to talk with your child about school work. Even if you aren’t familiar with the topic, you can still be an interested listener.

Be available to provide help and support, if it is needed. If you are unable to help, then assist your child in finding someone who can.

A regular study time should be established when homework assignments, review work or reading are to be done. Negotiate a time that is flexible enough to fit into your child’s extracurricular schedule.

Work with your child to set up a study area in the home that is comfortable and sway from too many distractions.

Keep in touch with your child’s teacher. Stay informed about your child’s progress (note, telephone calls, visits) Encourage the teacher to contact you about successes and achievements, not just concerns.

Make sure your child has a good night’s sleep, eats breakfast and gets to school on time every day.

Attend parent orientation nights, open houses, special events, parent-teacher interviews. Read school newsletters. Discuss all of these activities with your child.

Make sure your child has access to scraps and materials for building, constructing and making things.

Invite your child to watch or assist you whenever possible. It is an excellent way for a child to build up background experience and to build self-confidence in trying new things.

Have fun with problem solving on a regular basis at home. Use your child’s experiences and everyday situations to create and solve problems.

ผู้ปกครองสามารถช่วยเหลือเด็กๆในโรงเรียนได้อย่างไร ?

- ทำให้เป็นกิจวัตรประจำวัน ถึงการถามการบ้านของลูกในทุกๆตอนเย็น ถ้าไม่รู้จักคุณก็อยู่อย่างสงบ
- ให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมและให้กำลังใจสนับสนุน ถ้ามันเป็นเรื่องที่ยากคุณไม่สามารถช่วยได้ ก็หาใครที่สามารถช่วยเหลือลูกของคุณได้
- กำหนดพื้นที่ในการทำงานให้กับลูกของคุณในบ้าน เป็นที่นั่งพักผ่อนหย่อนใจ
- ให้ลูกของคุณมีเวลานอนที่ดี อาหารเช้าและห่อไปโรงเรียนทุกวัน
- ทำให้ลูกของคุณมีความมั่นใจในการต่อสู้ และเครื่องมือในการสร้างหรือทำสิ่งต่างๆ
- การแก้ปัญหาต่างๆที่อยู่ในบ้าน ใช้ให้เขาได้มีประสบการณ์ และทุกๆวันสร้างสถานการณ์และวิธีการในการแก้ปัญหา
- ต้องเก็บงานที่ครูให้ทำ ซึ่งจะทำให้เรารู้ความก้าวหน้าของลูกของเรา ให้กำลังใจ พบปะกับครูเกี่ยวกับความสำเร็จและการทำให้สำเร็จ ไม่ใช่แค่เกี่ยวข้องกันเฉยๆ
- ดูตารางเรียนของเขา จัดการเวลาเรียนปกติ เวลาทำการบ้าน ทบทวนงานหรืออ่านหนังสือ ให้เพียงพอ
- ผู้ปกครองดูการปรับตัวตอนกลางคืน เปิดบ้านให้มีบรรยากาศที่ดี อ่านจดหมายแล้ว อธิบายเกี่ยวกับกิจกรรมนักเรียนเกี่ยวกับลูกของคุณ
- ให้ลูกของคุณได้ช่วยเหลืองานเท่าที่เป็นไปได้ ในเป็นพื้นฐานในการเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีและสร้างให้เขามั่นใจในตัวเองในการทำสิ่งใหม่ๆ

How can parents and teachers help children develop a positive attitude toward mathematics ?

How can parents and teachers help children develop
a positive attitude toward mathematics ?

It is very important that you, as parents, be positive in your approach when it comes to your child’s mathematics education, if your own experiences with mathematics have not all been positive.

The content of the mathematics curriculum, especially at the higher grades, and seem overwhelming to most adults. But you don’t need to know how to do the mathematics yourself before you can help a child.

You can be enthusiastic, encouraging and genuinely interested. You can show that you believe your child can succeed. You can listen carefully. You can praise hard work. You can compliment patience. You can encourage independent thinking. You can reward “sticking to it.” You can set a good example yourself by how you solve problems in your own everyday life.

“I can do it.”
Be positive and encouraging ; show you believe that your child can succeed.

Enthusiastic
Be an enthusiastic problem solver yourself

Willing to try
Help children see that by making progress toward a solution, they are achieving success

Willing to stick with it
Reward perseverance ; set a good example yourself

Confident
Encourage children to trust their own abilities ; don’t solve the problem for them.

Not afraid to make mistake
Help your child see that mistakes are an opportunity for further learning.

Patient
Compliment your child for taking time to think through a problem

Find satisfaction in solving a problem
Praise your child for good mathematical thinking

Parent can help their children see the value of mathematics as a way of understanding the world around them. They can show children that “mathematics Is Everywhere!” They can provide experiences for children to apply skills learned at school to everyday situations at home.

A sample of activities is included here to give you an idea of some of the possibilities. By extending mathematics learning from the classroom into everyday life, children will come to appreciate mathematics as meaningful and important in our world.

music
· learn to play an instrument, rhythm patterns
newspapers and magazines
· examine surveys, check computations in media (sports pages, advertisements, stock market), how percent is used in advertising
TV and radio
· estimate hours of TV watched last week, last month, last year
cooking
· adjust a recipe to yield a certain number, measure ingredients (fractions), oven temperature
books
· read books having mathematical content (pattern in story, counting, etc)
travel
· interpret maps ;estimate speeds, distances, how many litres per kilometer ; estimate time needed to get from A to B, duration of trip ;estimate arrival/departure times
money
· calculate sales, budget, allowance, three video games for $1 (ratio)
construction
· make scale drawing, construct using interlocking toy sets, work together on a small building project or repair job
home decorating
· estimate/measure around the home (perimeter, area, angles) ; estimate/calculate how much material, costs of projects
sewing
· estimate /measure material, calculate how much material would be needed for a project, estimate / calculate costs
shopping
· calculate discounts, 3 kg for $1.99 (ratio) ; determine GST (percent) ; estimate items in a package-then count ; estimate cost of groceries for a week
sports
· determine rate of speed ; win/loss percents ; games behind ; estimate/measure lengths, heights, distances ; understand and compute batting averages
weather
· measure hours of daylight, temperatures, rainfall ; calculate averages
time
· estimate length of time, one-minute challenges 9kitchen timer) ;estimate how many (???) you could do in a minute, day, month, year
games
· participate in card games, puzzles, logic games, board games
collections and hobbies
· collect, sort, sequence, compare, extend /create patterns ; estimate number (buttons, shells, rocks , stamps, cards, etc.) ; estimate measurement

It makes a great difference to the success of students when what needs to be learned is clearly communicated to them.

Throughout the school year, parents and teachers need to keep in touch. There should be regular school-home communications and homework assignments that encourage “family mathematics’” There should be many special events throughout the year that will allow parents and others to see what’s going on at school. And there is always an open invitation to drop in and join a mathematics class!


ผู้ปกครองและครูสามารถช่วยให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ได้อย่างไร

มันเป็นส่วนสำคัญมากที่คุณ ผู้ปกครอง สร้างเจตคติทางด้านบวกให้กับลูกของคุณเมื่อเขาเรียนคณิตศาสตร์ ให้เขาได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ด้วยตัวเองอยู่เสมอ
หลักสูตรคณิตศาสตร์ที่เราต้องการ โดยเฉพาะในระดับที่สูงขึ้น ต้องครอบคลุมเนื้อหา แต่คุณควรจะรู้วิธีการการทำโจทย์คณิตศาสตร์ด้วนตนเองก่อนที่จะไปช่วยเด็ก
คุณสามารถกระตือรือร้น โดยการกระตุ้นและเอาใจใส่อย่างแท้จริง คุณสามารถแสดงออกให้เขาเห็นว่าเขาสมารถทำได้ คุณสามารถฟังอย่างอิสระ ออกแบบตัวอย่างที่ดีที่เขาสามารถแก้ปัญหาและนำไปใช้ในชีวิตประวันได้

ฉันสามารถทำมัน
คิดด้านบวกและช่วยสนับสนุน คุณต้องเชื่อมั่นว่าลูกของคุณสามารถทำได้
ความกระตือรือร้น
ทำให้ลูกของของคุณมีความกระตือรือร้นในการแก้ปัญหาและทำด้วยตัวเอง
เพลง
เรียนร่วมกับการเล่นดนตรี,รูปแบบของจังหวะ
หนังสือพิมพ์
พิจารณาตรวจสอบ ตรวจดูการคำนวณของสื่อมวลชน (หน้ากีฬา,การโฆษณา,ตลาดห้อง) เปอร์เซ็นในการตกลงโฆษณาเป็นอย่างไร
ทีวีและวิทยุ
การประมาณชั่วโมงของการดูทีวีสุดสัปดาห์ ท้ายเดือน ท้ายปี
การทำกับข้าว
จัดวิธีการปรุงอาหารเพื่อให้แน่ใจในการผลิต ส่วนประกอบที่สำคัญ อุณภูมิของเตาอบ
หนังสือ
อ่านหนังสือที่ประกอบด้วยทักษะทางคณิตศาสตร์
การเดินทาง
อธิบายแผนที่ ประมาณความเร็ว ระยะทาง กี่ลิตรต่อกิโลเมตรประมาณเวลาที่จะถึงเมือง A ถึง B ระยะเวลาในการเดินทางมาถึง
เงิน
คำนวณเงิน,คำนวณงบประมาณ,เงินปันผล,คำนวณการซื้อของ
การก่อสร้าง
เขียนแบบ การใช้เครื่องอิเล็กทรอนิค,เกี่ยวกับงานเล็กๆหรืองานช่วยซ่อมแซม
การตกแต่งบ้าน
การประมาณ/การวัดรอบๆบ้าน (พื้นที่,มุม,รูปแบบต่างๆ) การประมาณราคาของวัตถุที่จะทำงาน
การเย็บ
การประมาณวัสดุ คำนวณราคาของวัตถุในการทำงาน คำนวณต้นทุน
การซื้อของ
คำนวณส่วนลด กำหนด GST ประมาณจำนวนชิ้นในแพ็คเก็ต ประมาณต้นทุนในร้านขายของชำในแต่ละสัปดาห์
กีฬา
การคำนวณอัตราความเร็ว เปอร์เซ็นการแพ้ชนะในเกมที่สำคัญ การประมาณ/การวัด ความยาว ความสูง ระยะทาง
อากาศ
การพยากรณ์พระอาทิตย์ขึ้น,อุณหภูมิร่างกาย,ปริมาณน้ำฝน คำนวณโดยเฉลี่ย
เวลา
ประมาณเวลาในการเต้นรำจังหวะช้า ในแต่ละเดือน แต่ละวัน แต่ละปี
เกมส์
มีส่วนร่วมในการทำบัตรเกม การแก้ปัญหา การให้เหตุผลในการเล่นเกม การเล่นหมากรุก
ของสะสมกับงานอดิเรก
สะสม ชนิด เรียงลำดับ สร้างรูปแบบ ประมาณจำนวน (กล่อง,หอย,ก้อนหิน,แสตมป์การ์ด,อื่นๆ) ประมาณขนาดที่จะวัด
พ่อกับแม่สามารถช่วยลูกของเขาเห็นคุณค่าของคณิตศาสตร์เข้าใจว่ามันเป็นสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเขา พวกเขาสามารถแสดงให้เด็กเห็นว่าคณิตศาสตร์มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง พวกเขาสามารถสร้างประสบการณ์สำหรับลูกเพื่อที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวอย่างกิจกรรมในที่นี้ทำให้คุณเห็นว่า แนวคิดที่เป็นไปได้ของการเรียนคณิตศาสตร์จากห้องเรียนทุกๆวัน เด็กๆจะชื่นชอบคณิตศาสตร์ที่มีความเหมาะสมและความสำคัญระดับโลก
มันทำให้เกิดข้อแตกต่างทางด้านความสำเร็จของเมื่อสิ่งที่ต้องการได้เกิดการเรียนรู้อย่างชัดเจนได้ถูกสื่อสารไปสู่พวกเขา
ตลอดทั้งปีในโรงเรียนผู้ปกครองและครูจำเป็นต้องเก็บความรู้สึก ควรจะมีการสื่อสารระหว่างโรงเรียนกับบ้าน การให้กำลังใจในการทำการบ้าน ครอบครัวคณิตศาสตร์ ควรจะมีกิจกรรมพิเศษ ในหนึ่งปีควรจะมีการส่งจดหมายเชิญผู้ปกครองและคนอื่นๆให้เห็นความก้าวหน้าของโรงเรียนและเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ของห้องเรียนคณิตศาสตร์
What might you expect to see in a mathematics class ?

Classroom Climate
- well-established routines
- a community of learners
- students motivated and on task
- friendly, relaxed, nonthreatening
- high expectations
- positive attitudes
- problem-solving “spirit”

Groupings
- independent activities
- whole class instruction
- teacher-directed groups
- self-directed groups
- learning groups with another class
- small, cooperative groups
- peer partners
- activity centres

Physical Environment
- students’ mathematics work on display
- interactive mathematics bulletin boards where students are challenged to solve a problem or create their own “problems”
- manipulatives, models, concrete materials that are used freely by students
- computers and calculators that students use frequently
- mathematics displays throughout the school

Going beyond the Classroom
- field trips showing mathematics in everyday life, such as to nature parks, places of work, grocery shopping, construction sites
- resource people invited into the classroom to talk about how they use mathematical skills on the job

Technology
Learning Materials
- games, puzzles
- materials collected by students and their families
- manipulatives, models, measuring devices
- objects “found” in the everyday world
- variety of texts, trade book, resource books
- calculators, computers
- teacher-made materials
- commercial materials

Special Events
- Family Math Nights
- Math club
- Math Fair
- Math Olympics
- Math Summer Camps
- Science Fairs (applying mathematical processes)
- School Events (bake sales, canteens, contests, 100th Day of School, etc.) that involve students applying mathematical skills


อะไรที่คุณคาดหวังที่จะเห็นในห้องเรียนคณิตศาสตร์

สภาพห้องเรียน
- มีข้อตกลงที่ทุกคนยอมรับ
- สังคมของผู้เรียน
- การกระตุ้นให้นักเรียนและให้พลังงาน
- มีมนุษยสัมพันธ์ดี ผ่อยคลายสบายๆ ไม่มีการเดี่ยวเข็ญ
- ความคาดหวังสูง
- เจตคติทางบวก
- จิตวิญญาณการแก้ปัญหา

การจัดกลุ่ม
- กิจกรรมเดี่ยว
- กิจกรรมส่วนร่วมเป็นห้อง
- ครูเป็นศูนย์กลาง
- กลุ่มการเรียนรู้กับห้องเรียนอื่นๆ
- กลุ่มเล็ก
- กลุ่มที่มี่สวนรวม
- เพื่อนช่วยเพื่อน
- กิจกรรมเป็นหลัก

สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
- งานคณิตศาสตร์ของนักเรียนจะถูกจัดโชว์นำเสนอ
- การแลกเปลี่ยนทางด้านคณิตศาสตร์ซึ่งนักเรียนถูกท้าทายในการแก้ปัญหา หรือสร้างปัญหาด้วยตัวเอง
- สูตร แบบจำลอง อุปกรณ์ที่เป็นรูปธรรม ที่นักเรียนใช้อย่างอิสระ
- คอมพิวเตอร์และเครื่องคิดเลขที่นักเรียนใช้บ่อยๆ
- คณิตศาสตร์ที่ถูกนำเสนอท่างกลางโรงเรียน

การเรียนในห้องเรียน
- การทัศนะศึกษาแสดงให้เห็นว่าคณิตศาสตร์อยู่กับเราทุกๆวัน
- แหล่งข้อมูลนี้ทุกคนนำเข้ามาในห้องเรียน เพื่อที่จะพูดเกี่ยวกับ พวกเขาใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์กับอาชีพของเขาได้อย่างไร

สื่อการเรียนรู้
- เกม, จิ๊กซอ
- สื่อที่รวบรวมโดยนักเรียนและครอบครัวของเขา
- สูตร แบบจำลอง เครื่องชั่ง
- วัตถุที่ถูกค้นพบในโลกทุกๆวัน
- ข้อความที่หลากหลาย หนังสือ ห้องสมุด
- เครื่องคิดเลข
- สื่อที่ครูทำขึ้น
- สื่อสำเร็จ

สถานการณ์พิเศษ
- คืนครอบครัวคณิตศาสตร์
- ชุมนุม
- งานเสนอคณิตศาสตร์
- คณิตศาสตร์โอลิมปิก
- ค่ายคณิตศาสตร์
- งานวิชาการ (การประยุกต์ใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์)
- งานที่โรงเรียน เช่น ร้านเค้ก โรงอาหาร การประยุกต์ที่เกี่ยวกับทางด้านคณิตศาสตร์